คุณกำลังมองหาอะไร?

เกณฑ์คุณภาพน้ำประปา กรมอนามัย 2553

ความเป็นกรด-ด่าง (pH), สี (Colour), ความขุ่น (Turbidity), ความกระด้าง (Hardness), ปริมาณสารทั้งหมดที่เหลือจากการระเหย (TDS),

เหล็ก (Fe), แมงกานีส (Mn), ทองแดง (Cu), ทองแดง (Cu), สังกะสี (Zn), ตะกั่ว (Pb), โครเมียม (Cr), แคดเมียม (Cd), สารหนู (As),

ปรอท (Hg), ซัลเฟต (Sulfate), คลอไรด์ (Chloride), ไนเตรท (Nitrate as Nitrate), ฟลูออไรด์ (Fluoride), โคลิฟอร์มแบคทีเรีย

(Coliform Bacteria), ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Faecal Coliform Bacteria)

เกณฑ์คุณภาพน้ำบริโภค มอก. 257 เล่ม 1-2521

กายภาพ    : ความเป็นกรด-ด่าง (pH), สี (Colour), ความขุ่น (Turbidity), กลิ่น (Odour), รส (Taste)

เคมี         : ปริมาณสารทั้งหมดที่เหลือจากการระเหย (TDS),เหล็ก (Fe), แมงกานีส (Mn), (เหล็กและแมงกานีส), ทองแดง (Cu),

              สังกะสี (Zn), แคลเซียม (Calcium), แมกนีเซียม (Magnesium), ซัลเฟต (Sulfate), คลอไรด์ (Chloride), ฟลูออไรด์ (Fluoride),

              ไนเตรท (Nitrate as Nitrate), ลิเนียร์อัลคิลเบนซีนซัลโฟเนต (LBS), ฟีโนลิกซับสแตนซ์ (Phenolic Substances as Phoenol)

สารเป็นพิษ : ปรอท (Hg), ตะกั่ว (Pb), สารหนู (Arsenic), ซีเลเนียม (Selenium), โครเมียม (Cr), โครเมียม (Cr), แบเรียม (Ba)

จุลชีววิทยา : สแตนดาร์เพลตเคานต์ (Standard Plate Count), โคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Coliform Bacteria), อีโคไล (E. coli )

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 (พ.ศ. 2524) เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท

กายภาพ     : ความเป็นกรด-ด่าง (pH), สี (Colour), ความขุ่น (Turbidity), กลิ่น (Odour)  

เคมี          : ปริมาณสารทั้งหมด (Total Solids), ความกระด้างทั้งหมด (Total Hardness), สารหนู (Arsenic), แบเรียม (Ba), แคดเมียม (Cd),

                คลอไรด์ (Chloride), โครเมียม (Cr), ทองแดง (Cu), เหล็ก (Fe), ตะกั่ว (Pb), แมงกานีส (Mn), ปรอท (Hg), ไนเตรท (Nitrate)

               คำนวณเป็นไนโตรเจน, ฟีนอล (Phenol), ซีลีเนียม (Selenium), เงิน (Silver), ซัลเฟต (Sulfate), สังกะสี (Zn),

               ฟลูออไรด์ (Fluoride), อะลูมิเนียม (Aluminium), อัลคิลเบนซิลซัลโฟเนต (ABS), ไซยาไนด์ (Cyanide)

จุลชีววิทยา : โคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Coliform Bacteria), อีโคไล (E. coli), สตาฟีโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus),

               ซาลโมเนลลา (Salmonella), คลอสตริเดียม เพอร์ฟริงเจนส์ (Clostridium perfringens)

ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ออกตามความในมาตรา 55 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม 2537

ความเป็นกรด-ด่าง (pH), บีโอดี (BOD),ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids), ปริมาณตะกอนหนัก (Settleable Solids),

ปริมาณสารละลายทั้งหมด (Total Dissolved Solids), ซัลไฟด์ (Sulfide), ไนโตรเจนในรูป ทีเคเอ็น (TKN),น้ำมันและไขมัน (Oil and Grease),,

ซีโอดี (COD), โคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Coliform Bacteria), ฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Faecal coliform bacteria) 

มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม

ค่าความเป็นกรดและด่าง (pH value), ค่าทีดีเอส (TDS หรือ Total Dissolved Solids), สารแขวนลอย (Suspended Solids),

อุณหภูมิ (Temperature) , สีหรือกลิ่น , ซัลไฟด์ (Sulfide as H2S) , ไซยาไนด์ (Cyanide as HCN) ,น้ำมันและไขมัน

(Fat, Oil and Grease), ฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) , สารประกอบฟีนอล (Phenols) , คลอรีนอิสระ (Free Chlorine),

สารที่ใช้ป้องกันหรือกำจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ (Pesticide) , ค่าบีโอดี (5 วันที่อุณหภูมิ 20 °C (Biochemical Oxygen Demand : BOD),

ค่าทีเคเอ็น (TKN หรือ Total Kjeldahl Nitrogen) , ค่าซีโอดี (Chemical Oxygen Demand : COD) , สังกะสี (Zn),

โครเมียมชนิดเฮ็กซาวาเล้นท์ (Hexavalent Chromium) , โครเมียมชนิดไตรวาเล้นท์ (Trivalent Chromium) , ทองแดง (Cu) ,

แคดเมียม (Cd) ,แบเรียม (Ba) ,ตะกั่ว (Pb) , นิคเกิล (Ni) , แมงกานีส (Mn), อาร์เซนิค (As), เซเลเนียม (Se) , ปรอท (Hg)